โครงสร้างสังคม
หมายถึง
ส่วนต่างๆที่ประกอบกันเป็นระบบความสัมพันธ์ของสังคมมนุษย์
ส่วนประกอบดังกล่าวจะต้องเป็นเค้าโครงที่ปรากฏในสังคมมนุษย์ทุกๆสังคม
แม้ว่ามีรายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกันไปในแต่ละสังคมก็ตาม

1.มีการรวมกลุ่มของคนในสังคม
2.มีแนวปฏิบัติอย่างเหมาะสม
3.มีจุดหมายในการทำกิจกรรมต่างๆ
4.มีการเปลี่ยนแปลงได้
องค์ประกอบของโครงสร้างสังคม
1.กลุ่มสังคม (Social Groups) หมายถึงกลุ่มบุคคลที่สมาชิกในกลุ่มติดต่อสัมพันธ์กันอย่างเป็นระเบียบแบบแผน
และเป็นที่ยอมรับ
2.สถาบันสังคม (Social Institution)
หมายถึงรูปแบบพฤติกรรมของสมาชิกในสังคม เพื่อสนองความต้องการร่วมกันในด้านต่างๆ
และเพื่อความคงอยู่ของสังคมโดยส่วนรวม
การจัดระเบียบทางสังคม
หมายถึง การทำให้สังคมเกิดความมีระเบียบเรียบร้อย มีความมั่นคง และสามชิกของสังคมสามารถใช้ชีวิตของตนอยู่อย่างสงบ
บรรทัดฐานทางสังคม
หมายถึง กฎเกณฑ์
หรือแบบแผนของพฤติกรรมที่สังคมยอมรับเป็นแนวทางให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติ
-ประเภทของบรรทัดฐานสังคม
1. วิธีชาวบ้านหรือวิถีประชา หมายถึงแนวทางการประพฤติปฎิบัติต่างๆ ที่กระทำอยู่เป็นประจำจนเกิดความเคยชิน
2. จารีต หมายถึง แนวทางการประพฤติปฏิบัติของสมาชิกในสังคมที่เกี่ยวกับระบบศีลธรรมและสวัสดิภาพของสังคม
3. กฎหมาย หมายถึง ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับของรัฐที่ตราขึ้น โดยมีผู้มีอำนาจรัฐหรือตราขึ้นจากเจตนารมณ์ของคนในรัฐ
2. จารีต หมายถึง แนวทางการประพฤติปฏิบัติของสมาชิกในสังคมที่เกี่ยวกับระบบศีลธรรมและสวัสดิภาพของสังคม
3. กฎหมาย หมายถึง ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับของรัฐที่ตราขึ้น โดยมีผู้มีอำนาจรัฐหรือตราขึ้นจากเจตนารมณ์ของคนในรัฐ
สถานภาพทางสังคม
หมายถึงตำแหน่งบุคคลจากการเป็นสมาชิกและสังคม ซึ่งเป็นองค์ประกบการจัดระเบียบสังคม
-ประเภทของสถานภาพทางสังคม
1. สถานภาพที่ติดตัวเรามาตั้งแต่กำเนิด (Ascribed
Status) เช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ
2. สถานภาพที่ได้รับมาภายหลัง (Achieved Status) เช่น สถานภาพการสมรส สถานภาพทางการศึกษา สถานภาพทางอาชีพ สถานภาพทางการเมือง
2. สถานภาพที่ได้รับมาภายหลัง (Achieved Status) เช่น สถานภาพการสมรส สถานภาพทางการศึกษา สถานภาพทางอาชีพ สถานภาพทางการเมือง
บทบาททางสังคม
หมายถึง
สถานภาพทางสังคมเป็นตำแหน่งซึ่งกำหนดสิทธิผู้ที่ดำรงสถานภาพนั้น
การควบคุมทางสังคม
หมายถึงกระบวนการต่างๆทางสังคมที่มุ่งหมายให้สมาชิกสังคมยอมรับและปฏิบัติตามบรรทัดฐานสังคม
การขัดเกลาทางสังคม
หมายถึง
กระบวนการเรียนรู้และซึมซับบรรทัดฐานและค่านิยมของสังคม
-ปะเภทของการขัดเกลาทางสังคม
1.การขัดเกลาขั้นปฐมภูมิ
2.การขัดเกลาขั้นทุติยภูมิ
-การขัดเกลาทางสังคม
1.ขัดเกลาทางอ้อม
2.ขัดเกลาทางตรง
ลักษณะของสังคมไทย
ลักษณะทั่วไปของสังคมไทย
-สังคมไทยเคารพและเทิดทูนพระมหากษัตริย์
-สังคมไทยเป็นสังคมส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
-สังคมไทยมีขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นวิถีชีวิตร่วมกันของคนในสังคม
-สังคมไทยมีค่านิยมทางสังคมร่วมกัน
-สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม
-สังคมไทยมีโครงสร้างแบบหลวมๆ
-สังคมไทยมีการแบ่งชนชั้น
สถาบันสังคมไทย
-สถาบันครอบครัว
1.ครอบครัวใหญ่เป็นครอบครัวเดี่ยว
2.ผู้ชายเป็นหัวหน้าครอบครัว
3.ให้ความสำคัญกับผู้มีความอาวุโส
-สถาบันการศึกษา จะมีการจัดการศึกษาที่มีระบบแบบแผน
-สถาบันศาสนา เกี่ยวกับ ความเชื่อ พิธีกรรม ที่พึ่งทางจิตใจแก่มนุษย์
สถาบันเศรษฐกิจ สังคมไทยแบบเปิดตามหลักเศรษฐกิจแบบเสรีภาพ
1.ด้านเกษตรกรรม
2.ด้านอุตสาหกรรม
3.ด้านการบริการ
4.ด้านหัตถกรรม
-สถาบันการเมืองการปกครอง
สังคมไทยมีรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น